วัตถุประสงค์
1. ฝึกต่อวงจรโดยตัวต้านทานไวแสง (LDR) ร่วมกับไอซีเปรียบเทียบแรงดัน เบอร์ LM393N และใช้เป็นอุปกรณ์ตรวจจับการเปลี่ยนแปลงปริมาณแสง
รายการอุปกรณ์
- แผงต่อวงจร (เบรดบอร์ด) 1 อัน- ไอซีเปรียบเทียบแรงดัน เบอร์ LM393N 1 ตัว
- ตัวต้านทานปรับค่าได้แบบสามขา ขนาด 10kΩ หรือ 20kΩ 1 ตัว
- ตัวต้านทานไวแสง 1 ตัว
- ตัวต้านทาน 330Ω หรือ 470Ω 1 ตัว
- ตัวต้านทาน 4.7kΩ 1 ตัว
- ตัวต้านทาน 10kΩ 1 ตัว
- ทรานซิสเตอร์ NPN เบอร์ PN2222A 1 ตัว
- สายไฟสำหรับต่อวงจร 1 ชุด
- มัลติมิเตอร์ 1 เครื่อง
ขั้นตอนการทดลอง
1. ใช้มัลติมิเตอร์วัดค่าความต้านทานของตัวต้านทานไวแสง (LDR) ในสภาวะแสงที่แตกต่างกันในสามระดับ (ปริมาณแสงน้อย ปานกลาง และมาก) แล้วจดบันทึกค่าที่วัดได้ สังเกตการเปลี่ยนแปลงของค่า
ความต้านทานเมื่อปริมาณแสงเปลี่ยน
2. ต่อวงจรบนเบรดบอร์ด ตามรูปที่ 4.3.1 แล้ววัดแรงดัน Vx ในสภาวะแสงที่แตกต่างกัน (ปริมาณแสง
น้อย ปานกลาง มาก) แล้วจดบันทึกค่าที่วัดได้ สังเกตการเปลี่ยนแปลงของระดับแรงดันเมื่อปริมาณ
แสงเปลี่ยน
![]() |
ที่มา : เอกสารประกอบการเรียน Logic Design of Digital System ,ดร. เรวัต ศิริโภคาภิรมย์ |
3. ต่อวงจรบนเบรดบอร์ด ตามรูปที่ 4.3.2 (แบบที่ 1) โดยใช้แรงดันไฟเลี้ยง VCC=+5V และ Gnd
จากแหล่งจ่ายแรงดันควบคุม ทดลองหมุนปรับค่าที่ตัวต้านทานปรับค่าได้ และวัดแรงดัน Vref ที่ได้
สังเกตสถานะติด/ดับของ LED
![]() |
ที่มา : เอกสารประกอบการเรียน Logic Design of Digital System ,ดร. เรวัต ศิริโภคาภิรมย์ |
จากแหล่งจ่ายแรงดันควบคุม ทดลองหมุนปรับค่าที่ตัวต้านทานปรับค่าได้ และวัดแรงดัน Vref ที่ได้
สังเกตสถานะติด/ดับของ LED
![]() |
ที่มา : เอกสารประกอบการเรียน Logic Design of Digital System ,ดร. เรวัต ศิริโภคาภิรมย์ |
จากแหล่งจ่ายแรงดันควบคุม ทดลองหมุนปรับค่าที่ตัวต้านทานปรับค่าได้ เพื่อให้ LED “สว่าง”
เมื่อปริมาณแสงน้อย และให้ LED “ไม่ติด” เมื่อปริมาณแสงมาก
![]() |
ที่มา : เอกสารประกอบการเรียน Logic Design of Digital System ,ดร. เรวัต ศิริโภคาภิรมย์ |
ครบถ้วนตามหลักไฟฟ้า (ให้วาดด้วยโปรแกรม Cadsoft Eagle) รูปถ่ายของการต่อวงจรบน
เบรดบอร์ด และตอบคำถามท้ายการทดลอง
ผลการทดลอง
แสงปานกลาง มีค่าความต้านทาน 1.955 kΩ |
แสงน้อย มีค่าความต้านทาน 36.9 kΩ |
แสงมาก มีค่าความต้านทาน 429.5 kΩ |
สรุป ปริมาณแสงที่รับของ LDR มีผลคือ เมื่อได้รับแสงมากจะให้ความต้านทานมาก แต่ถ้าได้รับแสงน้อย ค่าความต้านทานก็จะน้อยลง
วงจร 4.3.1
แสงปานกลาง Vref = 4.141 V |
แสงน้อย Vref = 1.155 V |
แสงมาก Vref = 4.912 V |
วงจร 4.3.2 แบบที่ 1
วงจร 4.3.3 แบบที่ 2
วงจร 4.3.4
คำถามท้ายการทดลอง
1. ค่าความต้านทานของ LDR จะเปลี่ยนแปลงอย่างไร เมื่อปริมาณแสงเปลี่ยน และค่าความ
ต้านทานของ LDR ที่ได้จากการทดลอง จะอยู่ในช่วงใด
- ค่าความต้านทานของ LDR จะเพิ่มขึ้นเมื่อปริมาณแสงมากขึ้น จากการทดลอง คือช่วง 1.955 kΩ -492.5 kΩ
- ค่าความต้านทานของ LDR จะเพิ่มขึ้นเมื่อปริมาณแสงมากขึ้น จากการทดลอง คือช่วง 1.955 kΩ -492.5 kΩ
2. สำหรับวงจรแบบที่ 1 และ 2 แรงดัน Vx จะเปลี่ยนแปลงอย่างไร เมื่อปริมาณแสงเปลี่ยน
(เปลี่ยนจากปริมาณแสงน้อยเป็นปริมาณแสงมาก)
- วงจรแบบที่ 1 เมื่อ LDR รับแสงมากขึ้น >> จะทำให้ค่า Vx มากขึ้น
วงจรแบบที่ 2 เมื่อ LDR รับแสงมากขึ้น >> จะทำให้ค่า Vx น้อยลง
- วงจรแบบที่ 1 เมื่อ LDR รับแสงมากขึ้น >> จะทำให้ค่า Vx มากขึ้น
วงจรแบบที่ 2 เมื่อ LDR รับแสงมากขึ้น >> จะทำให้ค่า Vx น้อยลง
3. สำหรับวงจรแบบที่ 3 การปรับค่าแรงดัน Vref โดยใช้ตัวต้านทานปรับค่าได้ในวงจร มีผลอย่างไร
ต่อการติดหรือดับของ LED
- เมื่อปรับค่า Vref ให้น้อยลงจะทำให้ LED ติด
- เมื่อปรับค่า Vref ให้น้อยลงจะทำให้ LED ติด
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น